สรุปกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โครงการจัดการความรู้ หัวข้อ “การใช้งานติดตามและรายงานผลการบริการวิชาการ”
และ “เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่”
องค์ความรู้ที่ได้รับจากการจัดการความรู้ : สามารถเข้าถึงกระบวนและเทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่โดยได้หลักวิธีต่าง ๆ ดังนี้
-
อาจารย์ผู้มีประสบการณ์การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่
อ.พลอยพรรณ สอนสุวิทย์ Proceeding ป.โท , ป.เอกอ.อาจารย์ประภัสสร กลีบประทุม Proceeding ป.โท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อ.กนิษฐา ศรีภิรมย์ Proceeding Journal ประเทศอิตาลี
อ.วรรณพรรณ รักษ์ชน Proceeding
อ.ประพล จิตคติ Proceeding
-
รูปแบบการเขียนบทความ วารสารวิชาการส่วนประกอบของบทความวิจัยส่วนแนะนำ*
ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) (Title)- ควรเป็นวลี ไม่ยาวหรือสั้นจนเกินไป
– ภาษาไทย ภาษาอังกฤษควรมีความหมายตรงกัน
– หลีกเลี่ยงชื่อย่อ เครื่องหมายการค้า หรือภาษาตลาด
* ชื่อผู้แต่ง (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) (Author)
* บทคัดย่อ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) (Abstract)
– บทคัดย่อในบทความวิชาการ ควรอยู่ระหว่าง 200-250 คำ
– มีย่อหน้าเดียว
– เป็นการเขียนสรุปทั้งหมดของบทความ ประกอบด้วย
– วัตถุประสงค์หลัก
– วิธีการศึกษาค้นคว้า
– ผลการศึกษา
– สรุป และการนาไปประยุกต์ใช้* บทคัดย่อภาษาอังกฤษในบทความวิชาการ (Abstract)
– เขียนให้อยู่ในรูป
– Past tense
– Passive voice
* คำสำคัญ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) (Keywords)
อยู่ระหว่าง 3-5 คำ
– เป็นคำสำคัญสาหรับสืบค้นข้อมูล
– มักจะมาจากชื่อเรื่องส่วนเนื้อหาบทความ* บทนำ (Introduction)
– ควรมีไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ
* วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Objectives)
– ควรมี 1 – 3 ข้อ* วิธีการดำเนินงานวิจัย (Research procedure)
* ผลการวิจัย (Results)
* การอภิปรายผล (Discussion)
* ข้อเสนอแนะ/ สรุป (Suggestion/ Conclusion)
การอ้างอิง
* การอ้างอิงภายในเนื้อหา (Citation)
ภาษาไทย– ใส่วงเล็บ ภายในประกอบด้วย (ชื่อ นามสกุล, ปี พ.ศ………., หน้า …….)
ภาษาอังกฤษ– ใส่วงเล็บ ภายในประกอบด้วย (นามสกุล, ปี ค.ศ………., หน้า …….)
* เอกสารอ้างอิง/ บรรณานุกรม (Reference/ Bibliography)
– ให้ใช้รูปแบบ APA (American Psychological Association)
ภาษาไทย
ชื่อ นามสกุล. พ.ศ. ชื่อเรื่อง. เมืองที่ตีพิมพ์: สานักพิมพ์/โรงพิมพ์.
ภาษาอังกฤษ
นามสกุล. อักษรแรกของชื่อ. อักษรแรกของสกุลกลาง (ถ้ามี). ค.ศ.
ชื่อเรื่อง. เมืองที่ตีพิมพ์: สานักพิมพ์/โรงพิมพ์.