“เรียนรู้ คู่บูรณาการ พัฒนาวิสาหกิจ ใกล้ชิดท้องถิ่น รู้จริงเรื่องการเงิน”
เกี่ยวกับวิชาเอกการเงินและการธนาคาร
หลักสูตรที่เปิดสอน
ภาคปกติ
-
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
-
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี (เทียบโอน)
ภาค กศ.บป
-
หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
แนวทางการประกอบอาชีพ
1. ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน (Chief Financial Officer: CFO)
1.1 นักวิชาการเงินและการบัญชีภาครัฐ
1) นักวิเคราะห์นโยบายและวางแผน
2) นักวิชาการการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3) เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาครัฐ
1.2 ฝ่ายการเงินภาคเอกชน
1) เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินของหน่วยงานภาคเอกชน
2) เจ้าหน้าที่ด้านบริหารจัดการทางการเงิน
3) เจ้าหน้าที่ด้านพัฒนาธุรกิจและการเงิน
4) นักวิเคราะห์การเงิน
5) นักวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ
2.ประกันภัย
1) นายหน้าประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
2) ตัวแทนประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
3. สถาบันการเงิน
1) นักการธนาคาร
2) นักลงทุนสัมพันธ์
3) วาณิชธนากร
4) เจ้าหน้าที่ทางการเงิน
5) เจ้าหน้าที่/นักวิเคราะห์สินเชื่อ
6) เจ้าหน้าที่ศูนย์บริหารและจัดการธนบัตร
7) เจ้าหน้าที่บริการลูกค้าธนาคารพาณิชย์และธนาคารเฉพาะกิจ
8) เจ้าหน้าที่ด้านบริหารความเสี่ยง
4. อื่นๆ
1) ผู้ประกอบการ/ธุรกิจส่วนตัว
2) นักวิจัยการเงิน
ประมาณค่าใช้จ่าย
(ภาคเรียนแรก)
ภาคปกติ
8,800 ฿
8,800 ฿
- ค่าธรรมเนียม 8,000 บาท
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 800 บาท
- ภาคเรียนถัดไป 8,000 บาท
ภาคปกติ (เทียบโอน)
9,300 ฿
9,300 ฿
- ค่าธรรมเนียม 8,500 บาท
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 800 บาท
- ภาคเรียนถัดไป 8,500 บาท
ภาค กศ.บป
9,700 ฿
9,700 ฿
- ค่าธรรมเนียม 8,800 บาท
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 900 บาท
- ภาคเรียนถัดไป 8,800 บาท
ภาพกิจกรรม